นิ้ว ล็อค อาการ

Thursday, 25-Aug-22 22:46:12 UTC

" นิ้วล็อก " เป็นโรคที่พบได้บ่อยในคนทั่วไปที่ต้องใช้มือจับสิ่งของ หรืออุปกรณ์ต่างๆ อย่างต่อเนื่องบ่อยๆ โรคนี้ไม่มีอันตรายร้ายแรงใด ๆ เพียงแต่ทำให้รู้สึกเจ็บปวด และใช้มือไม่ถนัด แต่สามารถป้องกันและรักษาหายได้ วิธีและแนวทางรักษาขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรคและดุลยพินิจของแพทย์ อย่างไรก็ตาม ควรปรับพฤติกรรมการใช้นิ้วมือให้เหมาะสม ทั้งหลีกเลี่ยงการใช้นิ้วเกี่ยวของหนักๆ หรือลดระยะเวลาการเล่นสมาร์ตโฟนลง ก่อนเกิดอาการนิ้วล็อกหรือก่อนที่อาการของโรคจะดำเนินไปมากขึ้นกว่าเดิม สาเหตุของอาการ "นิ้วล็อก" ศ. นพ.

  1. นิ้วล็อค งอไม่ได้ ทำไงดี? คลายนิ้วล็อคง่ายๆด้วยตัวเอง
  2. อาการนิ้วล็อคกับทำกายภาพบำบัดนิ้วด้วยตนเอง - FRIEND DOCTOR
  3. ปลดล็อก อาการนิ้วล็อก | โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์
  4. นิ้วล็อก - บทความสุขภาพ โดยมูลนิธิหมอชาวบ้าน
  5. สุขภาพน่ารู้ - นิ้วล็อคโรคฮิต...ของชาวออฟฟิศ

นิ้วล็อค งอไม่ได้ ทำไงดี? คลายนิ้วล็อคง่ายๆด้วยตัวเอง

การยืดกล้ามเนื้อแขน มือ และนิ้วมือ ​ วิธีแรกในการรักษานิ้วล็อค เพียงแค่ทำท่าคล้าย "ท่าตั้งวง" ตอนรำ แต่ต่างกันนิดหน่อยตรงที่ให้เหยียดแขนข้างหนึ่งไปด้านหน้าให้ตรงและตึง แล้วใช้อีกมือมาดัดนิ้วเข้าหาตัวเอง 2. การกำ-แบมือ แก้นิ้วล็อค การกำ-แบมือ เป็นอีกวิธีในการรักษานิ้วล็อค งอไม่ได้โดยการเพิ่มความเคลื่อนไหวข้อนิ้วมือและกำลังกล้ามเนื้อภายในมือหรือหากอยากจะออกแรงมากขึ้นให้ลองหาลูกบอลนิ่มๆ มาบีบเพื่อช่วยในการออกกำลังกายนิ้วมือ 3.

ให้ยารับประทานในกลุ่ม NSAID เพื่อลดอาการปวด บวม อักเสบ และพักการใช้งานของมือ ไม่ใช้งานรุนแรง 2. ใช้เครื่องดามนิ้ว หรือการนวดเบา ๆ การประคบร้อน และการทำกายภาพบำบัด 3. การฉีดยากลุ่มสเตียรอยด์เฉพาะที่ เพื่อลดการอักเสบ ลดการบวมของเส้นเอ็น แต่การฉีดยาอาจทำให้อาการดีขึ้นได้เพียงระยะเวลาสั้นๆ และสามารถกลับมาเป็นซ้ำอีกได้ในระยะเวลาไม่นาน ข้อจำกัดในการรักษานี้คือ ไม่ควรฉีดยาเกิน 2 หรือ 3 ครั้งต่อนิ้วที่เป็นโรค 4. การผ่าตัด โดยการตัดปลอกหุ้มเส้นเอ็นที่หนาอยู่ให้เปิดกว้าง เพื่อให้เส้นเอ็นเคลื่อนผ่านได้สะดวก ไม่ติดขัด หลังผ่าตัดเสร็จผู้ป่วยสามารถกลับบ้านได้ ไม่ต้องนอนโรงพยาบาล โดยแผลหลังผ่าตัดห้ามโดนน้ำประมาณ 1-2 อาทิตย์ ท่าออกกำลังกาย 3 Steps ปลดล็อกนิ้วล็อกแบบง่ายๆ 1. กล้ามเนื้อบริเวณแขน มือ นิ้วมือ โดยยกแขนระดับไหล่ ใช้มือข้างหนึ่งดันให้ข้อมือกระดกขึ้น-ลง ปลายนิ้วเหยียดตรงค้างไว้ นับ 1-10 แล้วปล่อย ทำ 5-10 ครั้ง/เซต 2. บริหารการกำ-แบมือ โดยฝึกกำ-แบ เพื่อเพิ่มการเคลื่อนไหวของข้อนิ้ว และกำลังกล้ามเนื้อภายในมือ โดยทำ 6-10 ครั้ง/เซต (กรณีนิ้วล็อกไปแล้ว งดทำท่า 2. 2) 3. หากเริ่มมีอาการปวดตึง แนะนำให้นำมือแช่น้ำอุ่นไว้ 15 - 20 นาทีทุกวัน (วันละ 2 รอบ เช้า - เย็น) หากอาการไม่ดีขึ้น แนะนำให้มาพบแพทย์และทำการรักษาทางกายภาพต่อไป วิธีลดความเสี่ยงการเป็นนิ้วล็อก 1.

อาการนิ้วล็อคกับทำกายภาพบำบัดนิ้วด้วยตนเอง - FRIEND DOCTOR

  1. วัดศรีชุม วัดพม่าในนครลำปาง - วารสารเมืองโบราณ
  2. นิ้วล็อก - บทความสุขภาพ โดยมูลนิธิหมอชาวบ้าน
  3. Data analyst หางาน
  4. ฟ รอ ส ไน
  5. โรงแรม novotel เมืองทอง 2021
  6. Xerox 7535 ราคา
  7. อุปกรณ์เลี้ยงสัตว์
  8. โปรแกรมยอดฮิตสำหรับการสร้างงานมัลติมีเดีย – เว็บไซต์นำเสนอเทคนิค มัลติมีเดีย โปรแกรม รูปภาพ และการประยุกต์ใช้งาน
  9. ตรวจ สอบ ผลการอบรมออนไลน์
  10. จันทรุปราคา มี กี่ แบบ
  11. โจ๊ก ซอง 35 กรัม ราคา ซอง ละ

ระยะแรก มีอาการปวดเป็นอาการหลัก โดยจะมีอาการปวดบริเวณโคนนิ้วมือ และจะมีอาการปวดมากขึ้น ถ้าเอานิ้วกดบริเวณฐานนิ้วมือด้านหน้า แต่ยังไม่มีอาการติดสะดุด 2. ระยะที่สอง มีอาการสะดุด (triggering) เป็นอาการหลัก และอาการปวดก็มักจะเพิ่มมากขึ้นด้วย เวลาขยับนิ้ว งอ และเหยียดนิ้ว จะมีการสะดุดจนรู้สึกได้ 3. ระยะที่สาม มีอาการติดล็อคเป็นอาการหลัก โดยเมื่องอนิ้วลงไปแล้ว จะติดล็อคจนไม่สามารถเหยียดนิ้วออกเองได้ ต้องเอามืออีกข้างมาช่วยแกะ หรืออาจมีอาการมากขึ้นจนไม่สามารถงอนิ้วลงได้เอง 4. ระยะที่สี่ มีการอักเสบบวมมาก จนนิ้วบวมติดอยู่ในท่างอเล็กน้อย ไม่สามารถเหยียดให้ตรงได้ ถ้าใช้มือมาช่วยเหยียดจะปวดมาก วิธีป้องกัน "โรคนิ้วล็อค" 1. ไม่หิ้วของหนัก เช่น ถุงพลาสติก ตะกร้า ถังน้ำ ถ้าจำเป็นต้องหิ้ว ควรใช้ผ้าขนหนูรองและหิ้วให้น้ำหนักตกที่ฝ่ามือ แทนที่จะให้น้ำหนักตกที่ข้อนิ้วมือ หรือใช้วิธีการอุ้มประคองช่วยลดการรับน้ำหนักที่นิ้วมือได้ 2. ไม่ควรบิดหรือซักผ้าด้วยมือเปล่าจำนวนมากๆ และไม่ควรบิดผ้าให้แห้งสนิท เพราะจะยึดปลอกหุ้มเอ็นจนคราก และเป็นจุดเริ่มต้นของโรคนิ้วล็อค 3. นักกอล์ฟที่ต้องตีแรง ตีไกล ควรใส่ถุงมือ หรือใช้ผ้าสักหลาดหุ้มด้ามจับให้หนาและนุ่มขึ้น เพื่อลดแรงปะทะ และไม่ควรไดร์กอล์ฟต่อเนื่องเป็นเวลานานๆ 4.

ปลดล็อก อาการนิ้วล็อก | โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์

Published on 10 พฤษภาคม 2558 อาการนิ้วล็อคกับทำกายภาพบำบัดนิ้วด้วยตนเอง อาการของโรคนี้แบ่งเป็น 4 ระยะ คือ 1. ระยะแรก มีอาการปวดเป็นอาการหลัก โดยจะมีอาการปวดบริเวณโคนนิ้วมือ และจะมีอาการปวดมากขึ้น ถ้าเอานิ้วกดบริเวณฐานนิ้วมือด้านหน้า แต่ยังไม่มีอาการติดสะดุด 2. ระยะที่สอง มีอาการสะดุด (triggering) เป็นอาการหลัก และอาการปวดก็มักจะเพิ่มมากขึ้นด้วย เวลาขยับนิ้ว งอ และเหยียดนิ้ว จะมีการสะดุดจนรู้สึกได้ 3. ระยะที่สาม มีอาการติดล็อคเป็นอาการหลัก โดยเมื่องอนิ้วลงไปแล้ว จะติดล็อคจนไม่สามารถเหยียดนิ้วออกเองได้ ต้องเอามืออีกข้างมาช่วยแกะ หรืออาจมีอาการมากขึ้นจนไม่สามารถงอนิ้วลงได้เอง 4. ระยะที่สี่ มีการอักเสบบวมมาก จนนิ้วบวมติดอยู่ในท่างอเล็กน้อย ไม่สามารถเหยียดให้ตรงได้ ถ้าใช้มือมาช่วยเหยียดจะปวดมาก สำหรับวิธีการรักษา "โรคนิ้วล็อค" ประกอบไปด้วย 1. การใช้ยารับประทาน เพื่อลดการอักเสบ ลดบวม และลดอาการปวด ร่วมกับพักการใช้มือ 2. การใช้วิธีทางกายภาพบำบัด มักใช้ได้ผลดีเมื่อมีอาการของโรคในระยะแรก และระยะที่สอง ได้แก่ 2. 1การใช้เครื่องดามนิ้วมือ ดามนิ้วมือ แบบ แข็ง ดามข้อ กลางและปลายนิ้ว ดูผลิตภัณฑเพิ่มเติมได้ที่ FingerSplintII ดามนิ้วมือ แบบ แข็ง ดามทั้ง 3 ข้อโค น, ข้อ กลางและข้อปลายนิ้ว ดามนิ้วมือ แบบเฝือกอ่อน ครอบคลุมทั้งนิ้ว จะคล่องต้วกว่าแบบ เฝือก แข็ง ดูผลิตภัณฑเพิ่มเติมได้ที่ HealThumb 2.

นิ้วล็อก - บทความสุขภาพ โดยมูลนิธิหมอชาวบ้าน

การฉีดยาสเตียรอยด์เฉพาะที่ เพื่อลดการอักเสบ ลดปวดและลดบวม เป็นการรักษาที่มีประสิทธิภาพค่อนข้างมาก ส่วนมากมักจะหายเจ็บ บางรายอาการติดสะดุดจะดีขึ้น แต่การฉีดยามักถือว่าเป็นการรักษาแบบชั่วคราว และข้อจำกัดก็คือ ไม่ควรฉีดยาเกิด 2 หรือ 3 ครั้ง ต่อ 1 นิ้วที่เป็นโรค การรักษาโดยการฉีดยานี้สามารถใช้ได้กับอาการของโรคตั้งแต่ระยะแรกจนถึงระยะท้าย 4.

สุขภาพน่ารู้ - นิ้วล็อคโรคฮิต...ของชาวออฟฟิศ

ไม่หิ้วของหนักเกิน ถ้าจำเป็นต้องหิ้วให้ใช้ผ้าขนหนูรอง และหิ้วให้น้ำหนักตกที่ฝ่ามือ อาจใช้วิธีการอุ้มประคองหรือรถเข็นลากแทนการหิ้วของ เพื่อลดการรับน้ำหนักที่นิ้วมือ 2. ควรใส่ถุงมือ หรือห่อหุ้มด้ามจับเครื่องมือให้นุ่มขึ้นและจัดทำขนาดที่จับเหมาะแก่การใช้งาน ขณะใช้เครื่องมือทุ่นแรง เช่น ไขควง เลื่อย ค้อน ฯลฯ 3. งานที่ต้องใช้เวลาทำงานนานต่อเนื่อง ทำให้มือเมื่อยล้า หรือระบม ควรพักมือเป็นระยะๆ และออกกำลังกายยืดกล้ามเนื้อมือบ้าง 4. ไม่ขยับนิ้วหรือดีดนิ้วเล่น เพราะจะทำให้เส้นเอ็นอักเสบมากยิ่งขึ้น 5. ถ้ามีข้อฝืดตอนเช้า หรือมือเมื่อยล้า ให้แช่น้ำอุ่นร่วมกับการขยับมือกำแบในน้ำเบาๆ (ไม่ควรกำมือแน่นจนเกินไป) จะทำให้ข้อฝืดลดลง 6. หลีกเลี่ยงการซักผ้าด้วยมือ การบิดผ้าให้แห้งมากๆ หรือกิจกรรมที่ต้องใช้ข้อมือ เพื่อให้กำแน่นๆ หมายเหตุ: ควรพักการใช้งานในส่วนที่เกิดอาการนิ้วล็อก สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คลิก!! ศูนย์ออร์โธปิดิกส์ ชั้น 2 โซน A สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คลิก!! ศูนย์ออร์โธปิดิกส์ ชั้น 2 โซน A

ดิศรณ์ เจนศักดิ์ศรีสกุล แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน กระดูกและข้อ มือ ข้อมือ ข้อศอก 2327 views

2การนวดเบาๆ การใช้ความร้อนประคบหรือ อัลตร้าซาว์ดบำบัด ภาพแสดง หาขวดใบเล็กขนาดมือกำได้ใส่น้ำร้อน เอามานั่งกำค่ะ กำแล้วเหยียดเหยียดแล้วกำ ภาพแสดง แช่น้ำอุ่นวันละ 2 ครั้งเช้า-เย็น ประมาน 5 นาที กำและแบ ภาพแสดง ทำกายภาพบำบัดด้วยเครื่องอัลตร้าซาวด์บำบัด ลดอาการอักเสบ ดูผลิตภัณฑเพิ่มเติมได้ที่ Ultrasound Therapy 2. 3การออกกำลังกายเหยียดนิ้ว บริหารนิ้วและฝ่ามือ ท่าละ 3-5 นาที ภาพแสดง ประกบมือและนิ้วมือ แอ่นนิ้วผลักต้านกันเป็นจังหวะๆ ภาพแสดง กำมือให้แน่นก่อนเหยียดและกางนิ้วให้เต็มที่ ภาพแสดง วางนิ้วมือบนขอบโต๊ะ แอ่นนิ้วมือยันพื้นโด๊ะ 3. การฉีดยาสเตียรอยด์เฉพาะที่ เพื่อลดการอักเสบ ลดปวดและลดบวม (มีผลข้างเคียงมาก) แต่การฉีดยามักถือว่าเป็นการรักษาแบบชั่วคราว และข้อจำกัดก็คือ ไม่ควรฉีดยาเกิด 2 หรือ 3 ครั้ง ต่อ 1 นิ้วที่เป็นโรค 4.

ผู้ที่มีความจำเป็นต้องทำงานในลักษณะเกร็งนิ้วมือบ่อยๆ เป็นระยะเวลานาน เช่น แม่บ้าน, พนักงานออฟฟิศ, คนทำอาหาร, ช่างไฟฟ้า, ช่างไม้, ช่างโทรศัพท์, ช่างทำผม, ทันตแพทย์ หรือคนสวน เป็นต้น 2.

สมคร-งาน-บรษท-โรม