ลักษณะ ของ เปลือกโลก

Tuesday, 30-Aug-22 15:22:07 UTC

1 ตารางที่ แสดงธาตุที่มีมากในเปลือกโลก ธาตุ สัญลักษณ์ ปริมาณโดยน้ำหนัก ออกซิเจน ซิลิคอน อะลูมิเนียม เหล็ก แคลเซียม โซเดียม โปแตสเซียม แมกนีเซียม O Si Al Fe Ca Na K Mg 46. 6 27. 7 8. 1 5. 0 3. 6 2. 8 2. 1 รูปชั้นต่างๆ ของโลก 2. แมนทิล (mantle) มีความหนาประมาณ 3, 000 กิโลเมตร อยู่ถัดลงไปจากเปลือกโลก ประกอบด้วยหินเหลวหนืด (แมกมา) อุณหภูมิ 800- 4, 300 องศาเซลเซียส แมนเทิลประกอบด้วยธาตุซิลิกอน เหล็ก อะลูมิเนียม บางส่วนเป็นของแข็ง และบางส่วนหลอมละลาย 3.

โครงสร้างของเปลือกโลก | kodsang

เพลตเกิดขึ้นใหม่จากการโผล่ขึ้นของแมกม่าในจุดร้อนใต้มหาสมุทร แมกมาดันเปลือกทวีปทั้งสองแยกจากกัน และเคลื่อนที่ไปชนเปลือกมหาสมุทรในซีกโลกฝั่งตรงข้ามซึ่งมีอุณหภูมิต่ำกว่า และจมตัวลง การชนกันทำให้มหาสมุทรทางด้านตรงข้ามมีขนาดเล็กลง ภาพที่ 4 ข. เปลือกทวีปชนกันทำให้เกิดทวีปขนาดยักษ์ในซีกโลกหนึ่ง และอีกซีกโลกหนึ่งกลายเป็นมหาสมุทรขนาดยักษ์เช่นกัน ภาพที่ 4 ค.

2.5 การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก | ketnm024

๒ กิโลเมตร/วินาที ส่วนภายในเปลือกโลกภาคพื้นสมุทร คลื่นมีความเร็วประมาณ ๖. ๗ กิโลเมตร/วินาที และหากลึกต่อลงไปอีกจนถึงเปลือกโลกชั้นใน คลื่นก็จะมีความเร็วสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว คือ เพิ่มเป็น ๘. ๒ กิโลเมตร/วินาที เราเรียกรอยต่อระหว่างเปลือกโลกชั้นนอก กับเปลือกโลกชั้นในว่า แนวแบ่งเขตโมโฮโรวิซิก (Mohorovicic discontinuity) ตามชื่อของนักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซีย ซึ่งเป็นผู้เสนอแนวรอยต่อนี้ใน พ. ศ. ๒๔๕๒ ขณะที่ทำการศึกษาเรื่องแผ่นดินไหวอยู่ที่คาบสมุทรบอลข่านทางภาคใต้ของทวีปยุโรป ภาพตัดขวางของเปลือกโลก แสดงความเร็วคลื่นแผ่นดินไหว เมื่อเกิดการเปลี่ยนชั้นของเปลือกโลก ตัวเลขในวงกลม คือ ความเร็วคลื่นปฐมภูมิ (กม. /วินาที) (Longwell, 1969) นอกจากนั้นเปลือกโลกยังมีความหนาแน่นแตกต่างกัน ระหว่างเปลือกโลกภาคพื้นทวีปกับเปลือกโลกภาคพื้นสมุทร จากผลการสำรวจความโน้มถ่วงของโลก โดยนักธรณีฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ซึ่งทำงานอยู่ในอินเดีย ชื่อ จอห์น เฮนรี แพรตต์ (John Henry Pratt) เขาได้ทำการสำรวจบริเวณเทือกเขาหิมาลัยและให้ความเห็นเมื่อ พ. ศ. ๒๓๙๘ ว่า หินเปลือกโลกภาคพื้นทวีป มีความหนาแน่นในบริเวณที่เป็นเทือกเขาสูง น้อยกว่าหินในบริเวณที่เป็นที่ราบ ในขณะที่ส่วนที่เป็นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทร มีความหนาแน่นเฉลี่ย มากกว่าเปลือกโลกภาคพื้นทวีป ความเห็นดังกล่าว ทำให้นักธรณีวิทยาชาวอเมริกันชื่อ แคลเรนซ์ เอดเวิร์ด ดัตตัน (Clarence Edward Dutton) ในเวลาต่อมาได้เสนอทฤษฎีว่าด้วย ดุลเสมอภาคของเปลือกโลก (Theory of Isostasy) เมื่อ พ.

การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก การเปลี่ยนแปลง(แปรรูป) ของเปลือกโลก Diformation แบ่งเป็น 2 แบบ ได้แก่ 1. การเปลี่ยนแปลงเคลื่อนที่แบบรวดเร็วฉับพลัน ( abrupt movements) มักเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรง จนทำให้เปลือกโลกจมตัวลงเป็นบริเวณกว้าง หรือเอียงไปข้างใดข้างหนึ่งหรือเคลื่อนที่ออกจากกันในแนวราบทำให้เกิดลุ่มน้ำขัง ( swamps) หรือทะเลสาบ เช่น ที่ราบลุ่มในภาคเหนือของประเทศไทย หรือที่ราบลุ่มตอนกลางที่เรียกว่าที่ราบลุ่มเจ้าพระยาของไทย 2. การเปลี่ยนแปลงหรือเคลื่อนที่อย่างช้าๆ ( slow movemants) แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่อย่างช้า ๆ เช่น แผ่นเปลือกโลกแปซิฟิคเคลื่อนที่ไปทางทิศเหนือ 5 เซนติเมตร/ปี เฉลี่ยทั้งโลก 5 – 8 เซนติเมตร/ปี แผ่นเปลือกโลก เปลือกโลก ประกอบด้วยแผ่นขนาดใหญ่ 6 – 10 แผ่น และมีแผ่นเล็ก ๆ ที่ประกอบกันขึ้นหลายๆแผ่นต่อกันเหมือนแผ่นกระเบื้อง ถ้าเป็นเพลทที่ประกอบกันเป็นเปลือกโลกทวีป ( continenental plate) มีความหนาประมาณ 50 – 100 กิโลเมตร เคลื่อนที่เร็ว ประมาณ 2 เซนติเมตร/ปี ถ้าเป็นแผ่นเปลือกโลกที่ประกอบกันเป็นเปลือกโลกมหาสมุทร ( oceanic plate) จะมีความหนาประมาณ 10 – 20 กิโลเมตรเคลื่อนที่เร็วประมาณ 10 – 20 เซนติเมตร/ปี ลักษณะที่แผ่นเปลือกโลกกระทำต่อกัน 1.

เปลือกมหาสมุทรคืออะไร ลักษณะและโครงสร้าง / สิ่งแวดล้อม | Thpanorama - ทำให้ตัวเองดีขึ้นวันนี้!

การชนกันหรือเคลื่อนเข้าหากัน จะทำให้เเพลทใดเพลทหนึ่งมุดหัวทิ่มลงขณะที่อีกเพลทเงยหัวสูงขึ้น(ไม่ใช่ชนช้างนะจารย์ ^_^…แหมไม่รู้จะบอกอย่างไรจึงจะให้นึกภาพออกง่ายๆ…^_^.. เรียกสภาวะแบบนี้ว่า convergent bounderies และมักทำให้เกิดเทือกเขาขนาดใหญ่ทอดยาวเช่นเทือกเขาหิมาลัย ถ้าเกิดในมหาสมุทรจะทำให้เกิดร่องลึกกลางสมุทร (deep ocean trench) เป็นอาศัยของสัตวฺประหลาดและมนุษย์ต่างดาว ^_^…. 2. แบบที่เพลทเคลื่อนแยกจากกัน (divergent bounderies) จะให้เกิดแนวหินใหม่ขึ้นบริเวณที่มีการแยก หรือที่เรียกว่าสันเขากลางสมุทร (mid oceanic ridge) 3. แบบเคลื่อนที่ผ่านกันหรือเฉียด ๆ กันไป เหมือนรถสองคันที่วิ่งเฉียดกันไปขนิดผิวแตะกัน แต่เพลทผ่านกันด้วยความเร็วเพียง 10-20 เซนติเมตร จึงไม่ก่อให้เกิดกรณีเฉี่ยวชนให้เป็นที่หวาดเสียวกันแต่ประการใด ยิ่งกรณีชนแล้วหนี ปาดหน้าในระยะกระชั้นชิดยิ่งไม่มี เปลือกโลกทวีปแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1. ส่วนที่เป็นภาวะคงตัว คือส่วนที่เป็นภูเขาเก่าแก่ประกอบด้วยหินเก่าเป็นบริเวณที่มีมากกว่าส่วนที่ไม่คงตัว มีการเคลื่อนไหวน้อยมากตรวจดูหินจะมีอายุมากกว่าแบบภาวะไม่คงตัวแบ่งออกเป็น 2 แบบ ได้แก่ 1.

ลักษณะของเปลือกโลก

2 แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีทวีป แผ่นธรณีมหาสมุทรเป็นหินบะซอลต์ มีความหนาแน่นมากกว่าแผ่นธรณีทวีปซึ่งเป็นหินแกรนิต เมื่อแผ่นธรณีทั้งสองปะทะกัน แผ่นธรณีมหาสมุทรจะจมตัวลงและหลอมละลายเป็นหินหนืด เนื่องจากหินหนืดมีความหนาแน่นน้อยกว่าเนื้อโลกในชั้นฐานธรณีภาค มันจึงยกตัวขึ้นดันเปลือกโลกทวีปให้กลายเป็นเทือกเขาสูง เกิดแนวภูเขาไฟเรียงรายตามชายฝั่ง ขนานกับร่องลึกก้นสมุทร ดังภาพที่ 2 ตัวอย่างเทือกเขาที่เกิดขี้นด้วยกระบวนการนี้ ได้แก่ เทือกเขาแอนดิส บริเวณชายฝั่งตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ 2. 3แผ่นธรณีทวีปชนกัน แผ่นธรณีทวีปมีความหนามากกว่าแผ่นธรณีมหาสมุทร ดังนั้นเมื่อแผ่นธรณีทวีปปะทะกัน แผ่นหนึ่งจะมุดตัวลงสู่ชั้นฐานธรณีภาค อีกแผ่นหนึ่งจะถูกยกเกยสูงขึ้น กลายเป็นเทือกเขาที่สูงมาก เป็นแนวยาวขนานกับแนวปะทะ ดังภาพที่ 3 ตัวอย่างเทือกเขาสูงที่เกิดขึ้นด้วยกระบวนการนี้ ได้แก่ เทือกเขาหิมาลัย ในประเทศเนปาลเทือกเขาแอลป์ ในทวีปยุโรป 3. รอยต่อที่แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่สวนกัน (Transform Boundary) เมื่อแผ่นเปลือกโลกทั้งสอง เคลื่อนที่สวนกันจะทาให้เกิดรอยเลื่อนขนาดใหญ่ขึ้น และหากแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่กระทบกันอย่างรุนแรงจะทาให้เกิดการสั่นสะเทือนและเกิดแผ่นดินไหวขึ้นได้ แต่มักจะไม่พบภูเขาไฟ ที่มา:

ลักษณะของเปลือกโลกชั้นบน

องค์ประกอบของเปลือกโลก | kodsang

การเปลี่ยนแปลง(แปรรูป) ของเปลือกโลก Diformation แบ่งเป็น 2 แบบ ได้แก่ 1. การเปลี่ยนแปลงเคลื่อนที่แบบรวดเร็วฉับพลัน (abrupt movements) มักเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรง จนทำให้เปลือกโลกจมตัวลงเป็นบริเวณกว้าง หรือเอียงไปข้างใดข้างหนึ่งหรือเคลือนที่ออกจากกันในแนวราบทำให้เกิดลุ่มน้ำขัง (swamps) หรือทะเลสาป เช่น ที่ราบลุ่มในภาคเหนือของประเทศไทย หรือที่ราบลุ่มตอนกลางที่เรียกว่าที่ราบลุ่มเจ้าพระยาของไทย 2. การเปลี่ยนแปลงหรือเคลื่อนที่อย่างช้าๆ (slow movemants) แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่อย่างช้า ๆ เช่น แผ่นเปลือกโลกแปซิฟิคเคลื่อนที่ไปทางทิศเหนือ 5 เซนติเมตร/ปี เฉลี่ยทั้งโลก 5 – 8 เซนติเมตร/ปี แผ่นเปลือกโลก เปลือกโลก ประกอบด้วยแผ่นขนาดใหญ่ 6 – 10 แผ่น และมีแผ่นเล็ก ๆ ที่ประกอบกันขึ้นหลายๆแผ่นต่อกันเหมือนแผ่นกระเบื้อง ถ้าเป็นเพลทที่ประกอบกันเป็นเปลือกโลกทวีป (continenental plate) มีความหนาประมาณ 50 – 100 กิโลเมตร เคลื่อนที่เร็ว ประมาณ 2 เซนติเมตร/ปี ถ้าเป็นแผ่นเปลือกโลกที่ประกอบกันเป็นเปลือกโลกมหาสมุทร (oceanic plate) จะมีความหนาประมาณ 10 – 20 กิโลเมตรเคลื่อนที่เร็วประมาณ 10 – 20 เซนติเมตร/ปี ลักษณะที่แผ่นเปลือกโลกกระทำต่อกัน 1.

การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก - .ASTRONOMY.

0 แต่ปัจจุบันส่วนที่รองรับเปลือกทวีปนี้เชื่อว่าน่าจะมีองค์ประกอบคล้ายหินเพริโดไทต์ ( Peridotitic Composition) ซึ่งมี ความถ่วงจำเพาะ 3. 3 ถ้าวิเคราะห์ตามโครงสร้างภายในของโลก สามารถจำแนกตาม คุณสมบัติทางวัสดุได้กว้างๆ 2 ส่วนคือ 1. ชั้นธรณีภาค ( Lithosphere) คือส่วนที่มีคุณสมบัติเป็นของแข็งมีความแกร่ง ( rigid solid) นับรวมเอาส่วนเปลือกโลกถึงบางส่วนของชั้นเนื้อโลกส่วนบน ในระดับจากผิว โลกถึงลึกไม่เกิน 100 กิโลเมตร 2. ชั้นฐานธรณีภาค ( Asthenosphere) นับจากระดับประมาณ 100 กิโลเมตร ต่อจากชั้น ธรณีภาคลงไป มีสมบัติพลาสติกมากขึ้น พร้อมที่จะไหลได้ องค์ประกอบหลักของโลก ทั้งสองส่วนนี้ มีบทบาทอย่างยิ่งต่อการเคลื่อนที่ของมวลเปลือกโลก ขนาดใหญ่

2. 5 การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก การเปลี่ยนแปลง(แปรรูป) ของเปลือกโลก Diformation แบ่งเป็น 2 แบบ ได้แก่ 1. การเปลี่ยนแปลงเคลื่อนที่แบบรวดเร็วฉับพลัน (abrupt movements) มักเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรง จนทำให้เปลือกโลกจมตัวลงเป็นบริเวณกว้าง หรือเอียงไปข้างใดข้างหนึ่งหรือเคลือนที่ออกจากกันในแนวราบทำให้เกิดลุ่มน้ำขัง (swamps) หรือทะเลสาป เช่น ที่ราบลุ่มในภาคเหนือของประเทศไทย หรือที่ราบลุ่มตอนกลางที่เรียกว่าที่ราบลุ่มเจ้าพระยาของไทย 2. การเปลี่ยนแปลงหรือเคลื่อนที่อย่างช้าๆ (slow movemants) แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่อย่างช้า ๆ เช่น แผ่นเปลือกโลกแปซิฟิคเคลื่อนที่ไปทางทิศเหนือ 5 เซนติเมตร/ปี เฉลี่ยทั้งโลก 5 – 8 เซนติเมตร/ปี แผ่นเปลือกโลก เปลือกโลก ประกอบด้วยแผ่นขนาดใหญ่ 6 – 10 แผ่น และมีแผ่นเล็ก ๆ ที่ประกอบกันขึ้นหลายๆแผ่นต่อกันเหมือนแผ่นกระเบื้อง ถ้าเป็นเพลทที่ประกอบกันเป็นเปลือกโลกทวีป (continenental plate) มีความหนาประมาณ 50 – 100 กิโลเมตร เคลื่อนที่เร็ว ประมาณ 2 เซนติเมตร/ปี ถ้าเป็นแผ่นเปลือกโลกที่ประกอบกันเป็นเปลือกโลกมหาสมุทร (oceanic plate) จะมีความหนาประมาณ 10 – 20 กิโลเมตรเคลื่อนที่เร็วประมาณ 10 – 20 เซนติเมตร/ปี ลักษณะที่แผ่นเปลือกโลกกระทำต่อกัน 1.

  • เบน เท น xnxx
  • " สมุย " แ ร ก พ บ ด้วยงบสี่พัน | README.ME
  • โครงสร้างของเปลือกโลก | kodsang
  • การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก | ธรณีภาคและการเปลี่ยนแปลงของธรณีภาค
ราคา-chiller-trane