Pcp Treatment Guidelines ไทย

Saturday, 27-Aug-22 19:48:05 UTC

2007 และค. 2019 พร้อมทั้งนัยยะต่อการดูแลผู้ป่วย CAP ในประเทศไทยและการพิจารณาความเหมาะสมของการใช้ยาปฏิชีวนะในกรณีที่มีการทำ antibiotic stewardship program

Medical

pcp treatment guidelines ไทย 3
  • เดอะ พาลาซโซ่ จรัญสนิทวงศ์-ราชพฤกษ์ The Palazzo Charunsanitwong-Ratchapruek
  • คำถาม :: กลุ่มงานเภสัชกรรม | สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน เภสัชศาลา
  • Pcp treatment guidelines ไทย 2018

7-1 mg/kg/day หรือ Liposomal amphotericin B 3-4 mg/kg/day หรือ Amphotericin B lipid complex (ABLC) 5mg/kg/day 2. การรักษาทางเลือกแบบที่ 2 ได้แก่ Induction phase (2 สัปดาห์) Amphotericin B IV 0. 7-1 mg/kg/day ร่วมกับ Fluconazole 800 mg (12 mg/kg) po daily ตามด้วย Consolidation phase (≥8 สัปดาห์) Fluconazole 800 mg (12 mg/kg) po daily 2. การรักษาทางเลือกแบบที่ 3 รักษา 6 สัปดาห์ Fluconazole ≥800 mg (preferred 1, 200 mg) po daily ร่วมกับ Flucytosine 100 mg/kg/day po แบ่งให้ 4 ครั้ง 2. การรักษาทางเลือกแบบที่ 4 รักษา 10-12 สัปดาห์ ใช้ Fluconazole 800-1, 200 mg (preferred 1, 200 mg) po daily หรือ Itraconazole 200 mg po bid Liposomal amphotericin B 3-4 mg/day IV หรือ Amphotericin B lipid complex (ABLC) 5 mg/kg/day IV 1. Induction phase: อย่างน้อย 2 สัปดาห์แรก หรือจนกว่าผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้น โดยยาหลัก คือ Amphotericin B 0. /วัน ทางหลอดเลือดดำ ร่วมกับ Fluconazole 800 มก. /วัน ชนิดกิน หรือทางหลอดเลือดดำ หรือ Amphotericin B 1. /วัน ทางหลอดเลือดดำ ในกรณีที่ไม่สามารถใช้ fluconazole ได้ และยาทางเลือก: Fluconazole 1, 200 มก.

* ต้องใช้วิธีพิเศษในการย้อม การรักษา โรค Pneumocystis carinii ยาที่ใช้รักษาโรคติดเชื้อคือ TMP/SMX {(IV or oral) เช่น Bactrim, Septra, co-trimoxozole}ขนาดที่ให้ 5มก/กก trimethoprim ให้วันละ 3 ครั้ง(ยาขนาดปกติจะมี TMP/SMX 80/400)ต้องให้ยา 3 สัปดาห์ Pentamidine (IV); 4 mg per kg IVหยด 60 นาที Dapsone with or without Trimethoprim (CT) (EA). Atovaquone for mild to moderate PCP, Trimetrexate IV; Primaquine (BC) with Clindamycin.

pcp treatment guidelines ไทย voathai

Voathai

การเปลี่ยนแปลงคำแนะนำการรักษาโรคปอดอักเสบที่ติดเชื้อจากชุมชนของ American Thoracic Society และ Infectious Diseases Society of America ค. ศ. 2019 บทคัดย่อ โรคปอดอักเสบที่ติดเชื้อจากชุมชน (community-acquired pneumonia; CAP) เป็นโรคที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญที่ส่งผลให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้หากได้รับการรักษาที่ไม่เหมาะสม โดยเฉพาะในกรณีที่มีการติดเชื้อที่รุนแรง ซึ่งแนวทางเวชปฏิบัติที่มักถูกใช้เป็นกรอบในการจัดการผู้ป่วย CAP ได้แก่ แนวทางการรักษาโดย American Thoracic Society และ Infectious Diseases Society of America (ATS/IDSA) ค. 20071 (พ. 2550) ซึ่งแนวทางเวชปฏิบัติฉบับดังกล่าวอ้างอิงหลักฐานทางวิชาการเดิมที่มีอยู่เมื่อ 12 ปีก่อน ซึ่งช่วงเวลาหลังจากการเผยแพร่แนวทางเวชปฏิบัติดังกล่าวจนถึงปัจจุบันมีหลักฐานทางวิชาการที่เพิ่มเติมขึ้นทั้งในแง่ของการวินิจฉัยโรคและการจัดการด้านยา ทำให้ในเดือนตุลาคม พ. 2562 ATS/IDSA ได้เผยแพร่แนวทางในการรักษาโรคปอดอักเสบที่ติดเชื้อจากชุมชนฉบับใหม่2 ซึ่งปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงคำแนะนำให้สอดคล้องตามข้อมูลจากหลักฐานทางวิชาการที่เป็นปัจจุบัน แต่อย่างไรก็ตามแนวทางการรักษาฉบับนี้ครอบคลุมเฉพาะผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีโรคปอดอักเสบติดเชื้อจากชุมชน ที่ไม่มีความบกพร่องของระบบภูมิคุ้มกัน เช่น ผู้ป่วยที่มีเม็ดเลือดขาวต่ำโดยมีสาเหตุจากยา ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด ผู้ป่วยเอชไอวีที่มีระดับ CD4 ต่ำ และผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะหรือไขกระดูก บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอข้อมูลความเปลี่ยนแปลงของคำแนะนำระหว่างแนวทางการรักษาโรคปอดอักเสบที่ติดเชื้อจากชุมชนโดย ATS/IDSA ค.

pcp treatment guidelines ไทย 2018

The Mc Graw Hill education 2. แนวทางการรักษาการติดเชื้อ Cryptococcal meningitis แบ่งเป็น 1. Induction phase: อย่างน้อย 2 สัปดาห์แรก หรือจนกว่าผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้น - ยาหลัก ได้แก่ Amphotericin B 0. 7-1. /วัน ทางหลอดเลือดดำ ร่วมกับ Fluconazole 800 มก. /วัน ชนิดกิน หรือทางหลอดเลือดดำ หรือ Amphotericin B 1. /วัน ทางหลอดเลือดดำ ในกรณีที่ไม่สามารถใช้ fluconazole ได้ - ยาทางเลือก: Fluconazole 1, 200 มก. /วัน ชนิดกิน หรือทางหลอดเลือดดำ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถทน amphotericin B ได้ 2. Consolidation phase: 8-10 สัปดาห์ หรือจนกว่าเพาะเชื้อจากน้ำไขสันหลังไม่ขึ้นเชื้อ ยาหลัก: Fluconazole 400-800 มก. /วัน กินวันละครั้ง ยาทางเลือก: Itraconazole 400 มก. แบ่งกินวันละ 2 ครั้ง เอกสารอ้างอิง: แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2560 3.

CrCl > 30 mL/min CrCl < 30 mL/min หรือ ใช้ liposomal ต้องทำ dialysis amphotericin B 2. CrCl < 30 mL/min และ - ใช้ liposomal ยังไม่ได้ทำ dialysis amphotericin B 3. ทำ chronic dialysis อยู่แล้ว - ใช้ amphotericin B ต่อ หมายเหตุ ผู้ป่วยควรมีค่า Scr ก่อนและหลังให้ยาห่างกันอย่างน้อย 3 วัน และมีการเตรียมผู้ป่วยด้วยการให้ normal saline solution (NSS) ก่อนให้ยา amphotericin B ด้วย เอกสารอ้างอิง: ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พศ. 2561 คำสืบค้น: Cryptococcal meningitis, treatment หมวดหมู่คำถาม: Adverse effects, Dosage recommendations (general and organ impairment) ตอบคำถามโดย Hospital Staff โรงพยาบาลหัวหิน 2018-05-18 09:35:06 ไม่ระบุระยะเวลาที่ใช้สืบค้น คำตอบ 2 1. การรักษาหลัก ได้แก่ Induction phase (≥2 สัปดาห์) ใช้ Amphotericin B IV 0. 7-1 mg/kg/day ร่วมกับ Flucytosine 100 mg/kg/day po แบ่งให้ 4 ครั้ง ตามด้วย Consolidation phase (≥8 สัปดาห์) Fluconazole 400 mg (6 mg/kg) po daily 2. การรักษาทางเลือก ได้แก่ 2. การรักษาทางเลือกแบบที่ 1 รักษา 4-6 สัปดาห์ ใช้ Amphotericin B IV 0.

2561(3) จัดเป็นบัญชียา จ(2) ซึ่งมีราคาสูงมาก จะใช้ได้ต้องมีเงื่อนไขในการใช้ คือ ผู้ป่วยมี CrCl ( Cockcroft-Gault Equation) ก่อนเริ่มใช้ amphotericin B > 30 มล. /นาที แต่หลังจากใช้พบว่าลดลงเหลือ <30 มล. /นาที หรือ ผู้ป่วยที่มี CrCl <30 มล. /นาที ตั้งแต่ก่อนเริ่มใช้ยาจึงจะพิจารณาใช้ liposomal amphotericin B ในผู้ป่วย ดังนั้นสำหรับผู้ป่วยรายนี้ที่ได้รับ amphotericin B ทางหลอดเลือดดำแล้วมีค่าการทำงานของไตที่เพิ่มสูงขึ้น พิจารณา fluconazole 1, 200 มก. /วัน ชนิดกิน หรือทางหลอดเลือดดำแทนในช่วง induction phase (≥2 สัปดาห์) ตามด้วย consolidation phase คือ fluconazole 400-800 มก. /วัน ชนิดกิน นาน 8-10 สัปดาห์ เอกสารอ้างอิง (1) Pharmacotherapy handbook ninth edition. The Mc Graw Hill education. 2015:354-5. (2) แนวทางการรตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2560. กรมควบคุมโรค. 2018:319-20. (3) บัญชียาหลักแห่งชาติ พศ. 2561. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ. 2017:40-1. เอกสารอ้างอิง: 1. แนวทางการรักษาการติดเชื้อ Cryptococcal meningitis แบ่งเป็น 1. การรักษาหลัก Induction phase (≥2 สัปดาห์) Amphotericin B IV 0.

7-1 มก. /กก. /วัน ร่วมกับ flucytosine 100 มก. /วัน ชนิดกิน แบ่งให้ 4 ครั้ง เป็นระยะเวลา ≥2 สัปดาห์ ตามด้วย consolidation phase คือ fluconazole 400 มก. (6 มก. ) ชนิดกิน วันละครั้ง นาน ≥8 สัปดาห์ ซึ่งต่างจากแนวทางการรตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย ปี 2560(2) คือใน induction phase จะไม่แนะนำ flucytosine เป็นยาอันดับแรก เนื่องจากตามบัญชียาหลักแห่งชาติ ปี พศ. 2561(3) ยา flucytosine จัดเป็นยากำพร้า จึงแนะนำเป็น fluconazole 800 มก. /วัน ชนิดกิน หรือทางหลอดเลือดดำแทน และในกรณีที่ไม่สามารถใช้ fluconazole ได้ จะใช้ amphotericin B 1. 0 มก. /วัน ทางหลอดเลือดดำแทน ในกรณีผู้ป่วยมีความเสี่ยง หรือมีการทำงานของไตที่ผิดปกติ ตาม Pharmacotherapy handbook 9th edition(1) แนะนำให้มีการใช้ liposomal amphotericin B 3-4 มก. /วัน ทางหลอดเลือดดำ หรือ amphotericin B lipid complex (ABLC) 5 มก. /วัน ทางหลอดเลือดดำแทน amphotericin B ซึ่งต่างจากแนวทางการรตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย ปี 2560(2) แนะนำในผู้ป่วยที่ไม่สามารถทนต่อการใช้ amphotericin B ให้ใช้ fluconazole 1, 200 มก. /วัน ชนิดกิน หรือทางหลอดเลือดดำแทน เนื่องจาก liposomal amphotericin B ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ ปี พศ.

เฟอรนเจอร-โตะ-เครอง-แปง